ลายเต้ยโขง - ดนเมืองพื้นเมืองอีสาน

Post Top Ad

Responsive Ads Here

ลายเต้ยโขง

Share This

ลายเต้ย เป็นลายที่ใช้ประกอบการลำ ที่เรียกว่า "ลำเต้ย" ซึ่งเป็นการลำที่แทรกอยู่ในช่วงของการ
"ลำล่อง" กล่าวคือในขณะที่หมอลำกำลังลำล่องไปเรื่อยๆ จะมีการเต้ยสลับกลอนลำเป็นช่วงๆ เพื่อเพิ่มความสนุกสนานและเนื้อหาสาระของการลำ การเต้ย จะมี 3 แบบ คือ เต้ยธรรมดา เต้ยโขง และ เต้ยพม่า โดยปกติจะเริ่มที่การเต้ยธรรมดาก่อน แล้วจึงจะเต้ยพม่า หรือเต้ยโขงสลับกัน ไปตามเนื้อหาสาระของการลำ ฉะนั้นมือพิณ (คนดีดีดพิณ) ก็ต้องดีดพิณประกอบการลำ ตามเนื้อหาทำนองที่หมอลำแสดง บางครั้งก็จะเป็นการลำเต้ยเพื่อตอบโต้ หรือลำคู่กันระหว่างหมอลำฝ่ายชายกับฝ่ายหญิง ฉะนั้นมือพิณก็ต้องดีดพิณให้กลมกลืนกับสำเนียงลำของหมอลำ ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง
โน้ตเพลง ลายเต้ยโขง

(: - - - -
- - - ลํ
- - - ซํ
- ม – ลํ
- - - ซ
- ดํ – ลํ
- - - ซํ
- มํ – ลํ
- - - -
- - - ลํ
- - - ซํ
- ม – ลํ
- - - ซ
- ดํ – ลํ
- - - ซํ
- มํ – ลํ
- - - -
- ซ - ม
- - - ร
- ด - ม
- - - ร
- ซ – ม
- - - ร
- ด – ล
- - - ด
- ร - ม
- ร - ด
- ซ - ล
- - - ด
- ร - ม
ซ ม ร ด
- ซ - ล :)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Post Bottom Ad

Responsive Ads Here